การนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
(TUESDAY 6 SEPTEMBER 2559)
คลื่นทะเลในขวด Ocean in a Bottle
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ที่เด็กปฐมวัยสามารถทำเองได้ ทำได้ง่าย ไม่ซับซ้อนจนเกินไป
การทำของเล่นที่เหมาสมกับเด็กปฐมวัย มีดังนี้
1.เด็กสามารถทำเองได้ ขั้นตอนไม่ซับซ้อนเกินไป
2.เด็กสามารถนำวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่
3.เด็กจะได้รับประสบการณืจากการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ได้จริง
4.ทำมาจากวะสดุของเหลือใช้ต่างๆ
5.ต้องมีประโยนช์ต่อการเล่นของเด็ก
อุปกรณ์ในการทำคลื่นทะเลในขวด Equipment
1.ขวดน้ำพลาสติกพร้อมฝาปิด
2.น้ำมันพืชต่างๆ
3.สีผสมอาหาร สีฟ้าหรือน้ำเงินก็ได้
4.ปลา เปลือกหอย ทราย หรือกากเพชรสีต่างๆ
5.หินสีต่างๆ ถ้ามี
วิธีทำ How to make
1.เริ่มจากใส่น้ำลงไปในขวดพลาสติกประมาณ 1 ส่วน 3 ของขวด
2.หยดสีผสมอาหารสีฟ้าลงไปเล็กน้อยเพื่อให้น้ำเป็นสีฟ้าเหมือนน้ำทะเล
3.จากนั้นเป็นการตกแต่งใต้มกาสมุทรตามจินตนาการของที่เรามีอยู่ เช่น ใส่หินสีต่างๆ กุ้ง หอย ปู ปลา และกากเพชรสีต่างๆลงไป
4.เมื่อใส่ของเล่นทุกอย่างเสร็จแล้ว ก็เริ่มเทน้ำมันพืชลงไปในขวดให้เต็มขวด เทน้ำมันเต็มขวดแล้ว ปิดฝาขวดให้แน่นอันเสร็จเรียบร้อย
วิธีเล่นคลื่นทะเลในขวด How toplay
จะเกิดคลื่นได้อย่างไร? เวลาเล่นเราค่อยโยกขวดไป-มา ช้าๆ แค่นี้เองเราก็จะได้คลื่นที่เราเห็นอยู่ใต้ท้องทะเลและมีความสวยงามเหมือนคลื่นทะเลจริงๆ
คลิปวีดีโอการเล่นคลื่นทะเลในขวด
หลักการทางวิทยาศาสตร์ของคลื่นทะเลในขวด Ocean in a bpttle
น้ำกับน้ำมันจะไม่ผสมกันแต่จะแยกชั้นกัน เพราะว่าสภาพความเป็นขั้วแตกต่างกัน น้ำเป็นพวกโมเลกุลที่มีขั้ว เพราะว่าออกซิเจนมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าไอโดรเจน ออกซิเจนมีขั้วลบ ทในขณะที่ไฮโดรเจนมีขั้วบวกแสดงว่าน้ำเป็นโมเมนต์ขั้วคู่ ปฏิกิริยาระหว่างขั้วของแต่ละโมกุลเป็นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดที่เชื่อมโยงกับมวลรวมของน้ำของความดึงผิวแต่น้ำมันเป็นพวพโมเลกุล ไม่มีขั้ว จึงแยกกันอยู่ และน้ำกับน้ำมันหนักไม่เท่ากัน น้ำ หนักกว่าก็เลยจมลงล่าง ส่วนน้ำมัน เบากว่าเลยลอยขึ้นข้างบน
การนำไปประยุกต์ใช้
ของเล่นวิทยาศาสตร์แต่ล่ะชิ้นที่เพื่อนๆนำเสนอในวันนี้ได้ให้ความรู้มากมาย เราสามารถนำไปประยุกต์ใช้โดยการนำสิ่งของอย่างอื่นที่สามารถทำได้นอกจากที่เพื่อนๆทำ จะทำให้เด็กรู้สิ่งใหม่ๆที่หลากหลายมากขึ้น
เทคนิกการสอนของอาจารย์
การสอนโดยใช้คำถามแบบปลายเปิด ถามตอบกับนักศึกษาในเรื่องของสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ โดยตั้งคำถามให้ตอบอยู่เสมอ เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดทักษะความคิดเพื่อแก้ไขปัญกาค้นหาคำตอบ
การประเมินผล
การประเมินตนเอง
การแต่งการสะอาดเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังขธที่อาจารยือธิบายเรื่องของเล่นแต่ล่ะชิ้นของเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้นำเอาไปปรับปรุงแก้ไข้ในส่วนที่ผิด เพื่อทำให้ดีขิ้นยิ่งๆขึ้นไป
การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆแต่งกายสะอาดเรีนยร้อย มาตรงต่อเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเสมอ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายสะอาดเรียบร้อย พูดจาสุภาพ เป็นกันเอเง มาเข้าสอนตรงต่อเวลาเสมอ ให้คำแนะนำเพิ่มเติมกับของเล่นต่างๆได้เข้าใจดีขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น